วันเสาร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2558

การศึกษาในอนาตค 17/10/58


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การประเมินสถานศึกษาแห่งศตวรรษที่ 21








ครูต้องไม่สอน  แต่ต้องออกแบบการเรียนรู้
และอำนวยความสะดวก (Facilitate)
การเรียนรู้ให้นักเรียนเรียนรู้
จากการเรียนแบบลงมือทำ หรือปฏิบัติแล้ว
การเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในและสมองของตนเอง  การเรียนรู้แบบนี้เรียกว่า
PBL (Project-Based Learning)























ศตวรรษที่ 21 สถานการณ์โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19
ระบบการศึกษา ต้องมีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะความเป็นจริง
         ในประเทศสหรัฐอเมริกาแนวคิดเรื่อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่:
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย
 บริษัทเอกชนชั้นนำขนาดใหญ่
 เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสำนักงาน
ด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัว
และก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 (Partnership for 21st  Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21

        หน่วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจำเป็นที่เยาวชนจะต้องมีทักษะสำหรับการออกไป
ดำรงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21  
  ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์และกรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21ขึ้น
 สามารถสรุปทักษะสำคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและเยาวชนควรมีได้ว่า 
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R  และ 4C ซึ่งมีองค์ประกอบดังนี้

  • 3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ
    • 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, Communication- การสื่อสาร Collaboration-การร่วมมือ
    •  และ Creativity-ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี
    •  และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ 
       นอกจากนี้ยังมีนักการศึกษาอีกท่านหนึ่งที่มีส่วนสำคัญในการผลักดันเรื่องการฎิรูปการเรียนรู้ดังกล่าว
ให้กว้างขวางขึ้น คือ เซอร์เคน โรบินสัน นักการศึกษาระดับโลก โดยได้เน้นยำ้ถึงความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลง
แนวคิดการจัดการศึกษาระบบโรงงาน มาเป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิดอย่างสร้างสรรค์และ
เข้ากับบริบทของโลกที่ได้เปลี่ยนแปลงไป  ชมแอนิเมชั่นด้านบน การเปลี่ยนแปลงแนวคิดด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21
























































Project Based Learning
In Project Based Learning (PBL), students go through an extended process of inquiry in response to a complex question, problem, or challenge. While allowing for some degree of student "voice and choice," rigorous projects are carefully planned, managed, and assessed to help students learn key academic content, practice 21st Century Skills (such as collaboration, communication & critical thinking), and create high-quality, authentic products & presentations.
Rigorous and in-depth Project Based Learning:
is organized around an open-ended Driving Question or Challenge. These focus students’ work and deepen their learning by centering on significant issues, debates, questions and/or problems.
creates a need to know essential content and skills. Typical projects (and most instruction) begin by presenting students with knowledge and concepts and then, once learned, give them the opportunity to apply them. PBL begins with the vision of an end product or presentation which requires learning specific knowledge and concepts, thus creating a context and reason to learn and understand the information and concepts.
requires inquiry to learn and/or create something new. Not all learning has to be based on inquiry, but some should. And this inquiry should lead students to construct something new – an idea, an interpretation, a new way of displaying what they have learned.
requires critical thinking, problem solving, collaboration, and various forms of communication. Students need to do much more than remember information—they need to use higher-order thinking skills. They also have to learn to work as a team and contribute to a group effort. They must listen to others and make their own ideas clear when speaking, be able to read a variety of material, write or otherwise express themselves in various modes, and make effective presentations. These skills, competencies and habits of mind are often known as "21st Century Skills".
allows some degree of student voice and choice. Students learn to work independently and take responsibility when they are asked to make choices. The opportunity to make choices, and to express their learning in their own voice, also helps to increase students’ educational engagement.
incorporates feedback and revision. Students use peer critique to improve their work to create higher quality products.
results in a publicly presented product or performance. What you know is demonstrated by what you do, and what you do must be open to public scrutiny and critique.
~provided by the Buck Institute for Education

































































บันได 5 ขั้น สู่วิชา IS

               กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความมุ่งมั่นต่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการยกระดับโรงเรียนชั้นนำที่มีความพร้อมให้เป็นโรงเรียนดีมีมาตรฐานสากล หรือที่เรียกกันว่า  World – Class  Standard School   เพื่อสร้างคนไทยรุ่นใหม่ให้เป็นคนดีของสังคมโลก โดยคาดหวังยกระดับการจัดการเรียน การสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล  ยกระดับการบริหารจัดการระบบคุณภาพ พร้อมรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน   ทั้งนี้โรงเรียนมาตรฐานสากลมุ่งสร้างผู้เรียนให้มีศักยภาพด้วยการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เป็นเป้าหมายในการยกระดับการจัดการศึกษาของทั้งโรงเรียน  การออกแบบหลักสูตรจะต้องสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551  ซึ่งผู้เรียนจะเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามที่กำหนด  มีการพัฒนาต่อยอดคุณลักษณะที่เทียบเคียงกับสากล  โดยโรงเรียนต้องพิจารณาให้สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพความพร้อมและจุดเน้นที่มีความแตกต่างกันตามบริบทของแต่ละโรงเรียน
       บันได 5 ขั้นของการพัฒนาผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล บูรณาการเป็นรายวิชาเพิ่มเติม คือ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS) มีดังนี้ (ชลิต สุริยะสกุลวงษ์. 2555 : 15)
IS 1 การศึกษาค้นคว้า และสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) มุ่งให้ผู้เรียนตั้งประเด็นปัญหา ตั้งสมมุติฐาน ฝึกทักษะการศึกษาค้นคว้าแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย การคิดวิเคราะห์ และสรุปองค์ความรู้ เป็นบันไดขั้นที่ 1 การตั้งประเด็นปัญหา และสมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) ขั้นที่ 2 การแสวงหาเพื่อสืบค้นสารสนเทศ (Searching for Information) ขั้นที่ 3 การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
IS 2 การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation) มุ่งให้ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาพัฒนาวิธีการถ่ายทอด สื่อสารความหมาย แนวคิด ข้อมูล และองค์ความรู้ด้วยวิธีการนำเสนอที่เมาะสม หลากหลายรูปแบบ และมีประสิทธิภาพ เป็นบันไดขั้นที่ 4 การสื่อสาร และการนำเสนอ (Effective Communication)
IS 3 การนำองค์ความรู้ไปบริการสังคม (Social Service Activity) มุ่งให้ผู้เรียนนำ และประยุกต์องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติ หรือนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เกิดบริการสาธารณะ เป็นบันไดขั้นที่ 5 การบริการสังคม และจิตสาธารณะ (Public Service)
         การที่จะจัดการเรียนการสอนแก่ผู้เรียนเพื่อให้เกิดความรู้ที่แท้จริงต้องเข้าใจระบบการทำงานของสมอง (Wolfe. 2001 : 103-108) ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ (Piaget) ที่เน้นกลไกการเรียนรู้ที่นำไปสู่การสร้างความรู้ (Fosnot. 1996 : 11) คือ เมื่อบุคคลปะทะสัมพันธ์กับ
ประสบการณ์หนึ่งๆ ถ้าข้อมูลหรือประสบการณ์นั้นสัมพันธ์กับความรู้หรือโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่แล้วจะเกิดกระบวนการซึม เข้ากับโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิม แต่ถ้าข้อมูล หรือประสบการณ์ไม่สัมพันธ์กับความรู้ หรือโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่แล้วจะเกิดภาวะไม่สมดุลทำให้บุคคลพยายามเรียนรู้เพื่อปรับสมดุลทางปัญญาโดยการสร้าง โครงสร้างทางปัญญาขึ้นใหม่ เกิดเป็นความรู้ใหม่ของบุคคลนั้น
บันได 5 ขั้น
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองกับบันได 5 ขั้น
ที่มา : ฟาฎินา วงศ์เลขา. 2555 : 23.


สรุป
      การจัดการศึกษาในอนาคตก็ยังเป็นการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคํญ โดยครูผู้สอนจะต้องเป็นมากกว่าครูผู้สอนและนำหลัก LNR เข้ามาใช้คือ พัฒนาทักษะทางด้านภาษา การคำนวน และด้านเหตุผล และในขณะการจัดการเรียนการสอนควรที่จะให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับครูผู้สอนด้วยโดยการตั้งคำถามของครูโดยใช้การถามแบบ 5 w 1 H  question ซึ่งไม่มีการให้คำตอบที่ว่าด้




                                                                  นางสาวขนิษฐา  มัชปาโต รหัสนักศึกษา 58723713303 
                                  ป.บัณฑิตวิชาชีพครู  มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร สัปดาห์ที่  11    17/10/58

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น